การประชุมวิชาการวิศวกรรมแหล่งน้ำแห่งชาติ
ครั้งที่ 8

ระดับนานาชาติครั้งที่ 5
การประชุมวิชาการวิศวกรรมแหล่งน้ำแห่งชาติ
ครั้งที่ 8

ระดับนานาชาติครั้งที่ 5
ขยายเวลารับผลงาน

26 พฤศจิกายน 2564

“การบริหารจัดการน้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน”

“การบริหารจัดการน้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน”

 
 

“การบริหารจัดการน้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน”

“การบริหารจัดการน้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน”

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศไทยในปัจจุบันเผชิญกับความเสี่ยงและความไม่แน่นอนอันเนื่องมาจากหลายปัจจัย ความต้องการใช้น้ำที่เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและจำนวนประชากร และการปรับเปลี่ยนบริบทของสังคมจากสังคมเกษตรกรรมไปสู่สังคมอุตสาหกรรม ส่งผลให้การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเหมาะสมและเป็นธรรมของประเทศไทยเป็นไปอย่างยากลำบาก หลายพื้นที่ของประเทศไทยตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ำ การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศที่ทั่วโลกกำลังเผชิญส่งผลให้ปริมาณและรูปแบบของการเกิดฝนในประเทศไทยเกิดความไม่แน่นอน ส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านอุทกภัย และปัญหาภัยแล้งเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นการขยายตัวของชุมชนเมือง อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวก่อให้เกิดปัญหาด้านน้ำเสียในหลายพื้นที่เนื่องจากการปล่อยมลพิษลงสู่ลำน้ำ

จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ ร่วมกับ คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมแหล่งน้ำ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาลัยการชลประทานและสมาคมนักอุทกวิทยาไทย จึงได้ร่วมกันจัดให้มีการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 8 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ “การบริหารจัดการน้ำภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน (Water management under risk and uncertainty)” โดยรูปแบบการประชุมประกอบไปด้วย การนำเสนอบทความวิชาการทั้งในรูปแบบของการบรรยาย (Oral presentation) / โปสเตอร์ (Poster presentation) และการเสวนาทางวิชาการ เพื่อเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ข้อมูล และทัศนะ ระหว่างนักวิชาการจากหลากหลายหน่วยงานในการแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบัน และพัฒนาแนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศไทยต่อไป

สาขาของบทความ

การบริหารจัดการน้ำ (Water Management)

การชลประทานและการระบายน้ำ (Irrigation and Drainage)

อุตุ-อุทกวิทยา และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Meteo-Hydrological and Climate Change)

อุทกสารสนเทศศาสตร์ (Hydroinformatics)

วิศวกรรมชลศาสตร์ (Hydraulic Engineering)

วิศวกรรมประปาและสุขาภิบาล (Water Supply and Sanitary Engineering)

วิศวกรรมชายฝั่งทะเล (Coastal Engineering)

การจัดการน้ำบาดาล (Groundwater Management)

ความเสี่ยงและภัยพิบัติ (Risk and Disaster)

การจัดการคุณภาพน้ำและระบบนิเวศ (Water Quality Management and Ecosystem)

เทคโนโลยีสมัยใหม่และการตัดสินใจ (Emerging Technology and Decision Support)

กำหนดการสำคัญ

ส่งบทความฉบับสมบูรณ์ ขยายเวลาถึงวันที่ 30 กันยายน 2564
ตอบรับบทความฉบับสมบูรณ์ 31 ตุลาคม 2564
ลงทะเบียนล่วงหน้า 11 ตุลาคม - 5 พฤศจิการยน 2564
การประชุมวิชาการ 25-26 พฤศจิกายน 2564

รูปแบบการจัดการประชุมออนไลน์

  • การบรรยาย
    (Oral presentation)
  • การนำเสนอโปสเตอร์
    (Poster presentation)
  • เสวนาทางวิชาการ
    (Academic discussion forum)

อัตราค่าลงทะเบียนการประชุมวิชาการระดับชาติ (ออนไลน์)

ประเภทผู้นำเสนอ/ผู้เข้าร่วม อัตราค่าลงทะเบียน บทความละ (บาท)
ผู้นำเสนอ นิสิต/นักศึกษา / สมาชิก วสท. 1,000
บุคคลทั่วไป 1,500
ผู้เข้าร่วม ได้รับใบประกาศในการเข้าร่วม 500
เข้าร่วมรับฟังทั่วไป ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วม

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (TCI3)


วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (TCI2)


วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (TCI1)


วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (TCI2)

ลงทะเบียนนำเสนอผลงาน / เข้าร่วมงาน !!

ผู้นำเสนอผลงาน / เข้าร่วมงาน สามารถลงทะเบียนได้ 2 ช่องทางคือ

1. ดาวน์โหลดแบบฟอร์มที่ DOCX PDF พร้อมทั้งกรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์มและแนบหลักฐานชำระค่าลงทะเบียน ส่งกลับที่ E-mail: ncwre8@gmail.com
2. ลงทะเบียนผ่านทาง LINK โดยกรอกรายละเอียดพร้อมทั้งแนบหลักฐานการชำระเงินตามที่กำหนดในแบบฟอร์ม
รายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ: E-mail: ncwre8@gmail.com
FULL PAPER PROCEEDING DOWNLAOD
บทความที่ได้ตอบรับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (International)
No. PAPER ID รายละเอียดบทความ
1 CC6 Assessment of Royal Rainmaking Performance with Ground-based Rainfall in Phetchaburi River Basin
2 RD3 CATCHMENT-SCALE FLOOD HAZARD MAPPING IN THE LOWER AREAS OF LAM PAO RIVER BASIN, THAILAND
3 WQ1 Simulation of water losses for the 1D salinity forecasting model in Chao Phraya River
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (International)
No. PAPER ID รายละเอียดบทความ
1 WM7 LOW-FLOW ASSESSMENT FOR UNGAUGED SUB-BASINS IN THE UPPER PING RIVER BASIN, THAILAND
2 WM15 Evaluating Hydroelectricity Production Re–operating with Adapted Rule Curve under Climate Change Scenarios Case Study of Bhumibol Dam in Thailand
3 WM21 TRACING CROP WATER REQUIREMENT IN THE PUMPING, GRAVITATIONAL AND INUNDATION IRRIGATION SCHEMES OF THE GREATER CHAO PHRAYA RIVER BASIN USING CLOUD–BASED IRRISAT APPLICATION
4 RD0 Development of a Web-based Interface for Urban Flood Warning System in Bangkok, Thailand
5 RD7 Drought Analysis in the Eastern Economic Corridor by using the Standardized Precipitation Index (SPI)
6 WQ2 WQI Index Assessment of Raw Water for Water Supply
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
No. PAPER ID รายละเอียดบทความ
1 CC5 การศึกษาเปรียบเทียบความชื้นในดินจากข้อมูลดาวเทียม SMAP กับการตรวจวัดด้วย TDR ในพื้นที่นาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Comparative Study of Soil Moisture Content between the SMAP Satellite Data and the TDR Measurements in Paddy Field, northeast Thailand
วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
No. PAPER ID รายละเอียดบทความ
1 WM5 ความเป็นไปได้ในการลดผลกระทบต่อระบบนิเวศด้านท้ายเขื่อน ด้วยการปรับแผนการระบายน้ำโดยหลักการไหลเพื่อสิ่งแวดล้อม สำหรับลุ่มน้ำแม่กลอง
2 WM12 การขับเคลื่อน เชื่อมโยง และพัฒนาการบริหารจัดการนํ้าภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย(Spearhead) ด้านสังคม แผนงานการบริหารจัดการนํ้าปีที่ 1
3 WM17 การศึกษาและวิเคราะห์ความแม่นยำเชิงพื้นที่ของข้อมูลฝนพยากรณ์เปรียบเทียบกับข้อมูลฝนตรวจวัดภาคพื้นดินในพื้นที่ลุ่มน้ำเพชรบุรีตอนบน
4 ID0 การหาขนาดลานสลายพลังงาน
5 CC2 ารทดสอบความเหมาะสมของทฤษฎีการแจกแจงความถี่สำหรับสภาพการไหลต่ำสุดในลุ่มน้ำปิง และวัง
6 CC3 การคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณฝนในอนาคต ด้วยแบบจำลองสภาพภูมิอากาศโลกในพื้นที่ลุ่มน้ำชี
7 HE0 การศึกษาแนวทางการบรรเทาอุทกภัยพื้นที่อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีและพื้นที่ใกล้เคียง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
8 HE2 กระบวนการสอบเทียบแบบจำลองชลศาสตร์สำหรับโครงข่ายท่อน้ำประปาโดยอัตโนมัติ
9 HE4 การประยุกต์ใช้ข้อมูลการสํารวจระยะไกลในแบบจําลอง HEC-RAS สองมิติ
10 WS1 การเฝ้าระวังน้ำสูญเสียสำหรับโครงข่ายท่อประธานด้วยวิธีสมดุลน้ำ